Page 3 - รายงานน้ำท่วมลุ่มน้ำคลองชุมพร
P. 3

ค้าน้า




                      ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันภัยพบัติทางธรรมชาติ เช่น  พายุ  น้้าท่วม  แผ่นดินถล่ม  ความแห้งแล้ง ฯลฯ ได้
                                              ิ
               ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและประเทศชาติท้าให้ประชาชนและรัฐบาลต้องใช้

                                                    ื้
                                                   ู
               งบประมาณจ้านวนมากในการบูรณะฟนฟพนที่และอาคารสิ่งก่อสร้างที่ได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติหาก
                                                ื้
               สามารถป้องกันและแจ้งเตือนประชาชนล่วงหน้าได้จะบรรเทาความเสียหายดังกล่าวได้  ทั้งยังสามารถน้างบประมาณ
                       ื้
                          ู
                 ื่
               เพอการฟนฟดังกล่าวมาใช้พฒนาด้านอน ๆ ที่มีความจ้าเป็นอน ๆ ทั้งนี้การเกิดภัยธรรมชาติมีแนวโน้มความรุนแรง
                                                ื่
                                                                  ื่
                                       ั
               เพิ่มมากยิ่งขึ้น  อันเกิดจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ถูกดัดแปลงและถูกท้าลายลงโดยเฉพาะการเกิดอทกภัยใน
                                                                                                       ุ
                 ื้
               พนที่ภาคใต้ฝั่งตะวันออก  ระหว่าง  เดือนตุลาคม –  มกราคม  ของทุกปี  ซึ่งเป็นช่วงของฤดูมรสุมที่จะก่อให้เกิด
               ความเสียหาย  เนื่องจากอุทกภัยหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า  "น้้าท่วม"
                       ดังที่มีสถานการณ์น้้าท่วมลุ่มน้้าคลองชุมพร  ในเขตต้าบลบ้านนา  ต้าบลวังไผ่  ต้าบลขุนกระทิง  และต้าบล
               ตากแดด  อ้าเภอเมือง  จังหวัดชุมพร  เมื่อช่วงวันที่  12-13 พ.ย. 2564  สาเหตุเกิดจากหย่อมความกดอากาศต่้าปก

               คลุมภาคใต้คาดว่าจะเคลื่อนลงทะเลอันดามัน ในวันที่  14 พ.ย. 2564  ประกอบกับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พด
                                                                                                             ั
                       ่
               ปกคลุมอาวไทย และภาคใต้มีก้าลังแรง ท้าให้ภาคใต้บริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์  ชุมพร  สุราษฎร์ธานี
                               ั
                                                                          ั
               นครศรีธรรมราช พทลุง สงขลา  ปัตตานี  ยะลา  นราธิวาส  ระนอง  พงงา  ภูเก็ต  กระบี่  ตรัง  และสตูล มีฝนตก
               หนักหลายพื้นที่และฝนตกหนักมากบางแห่ง  โดยเฉพาะในวันที่  12 พ.ย. 2564 ฝนตกหนักบริเวณลุ่มน้้าคลองชุมพร
               โดยเฉพาะที่บ้านท่าไม้ลาย  (X.201)  ต.วังใหม่  อ.เมือง  จ.ชุมพร  ตรวจวัดปริมาณฝน  24  ชม. ได้ 99.7 มม.  และ
               สถานี  ปตร.สามแก้ว  อ.เมือง  จ.ชุมพร  ตรวจวัดปริมาณฝน  24  ชม. ได้ 80.0  มม.  โดยปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งลุ่มน้้า

               คลองชุมพร  เท่ากับ 89.8 มม. ท้าให้ระดับในคลองชุมพร  ที่สถานี  X.201A  บ้านท่าไม้ลาย  ต.วังใหม่ อ.เมือง  จ.ชุมพร

               มีระดับน้้าสูงสุด  40.67 ม.  (ร.ท.ก.)  ปริมาณน้้า  127.60 ลบ.ม./วิ  เมื่อเวลา 15.00 น. ของวันที่  12 พ.ย. 2564
               (สถานีเฝ้าระวังด้านเหนือน้้า)   และระดับน้้าที่สถานี  X.53A   บ้านวังไผ่  ต.วังไผ่ อ.เมือง จ.ชุมพร  มีระดับน้้าสูงสุด

               9.57 ม.  ปริมาณน้้า  170.57  ลบ.ม./วิ เมื่อเวลา  17.00  น  ของ วันที่ 13 พ.ย. 2561  (สถานีเตือนภัยด้านท้ายน้้า)

                                                                    ื้
                                                       ื้
                       ปริมาณน้้าดังกล่าวส่งให้เกิดน้้าท่วมพนที่ลุ่มต่้าและพนที่ชุมชนบางส่วน  ของต้าบลบ้านนา  ต้าบลวังไผ่
               ต้าบลขุนกระทิง  และต้าบลตากแดด  อ้าเภอเมือง  จังหวัดชุมพร
   1   2   3   4   5   6   7   8