Page 3 - รายงานน้ำท่วมลุ่มน้ำโก-ลก วันที่ 24 กุมภาพันธ์ -4 มีนาคม 2565
P. 3

ค้าน้า




                      ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันภัยพบัติทางธรรมชาติ เช่น  พายุ  น้้าท่วม  แผ่นดินถล่ม  ความแห้งแล้ง ฯลฯ ได้
                                              ิ
               ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและประเทศชาติท้าให้ประชาชนและรัฐบาลต้องใช้

                                                ื้
               งบประมาณจ้านวนมากในการบูรณะฟนฟพนที่และอาคารสิ่งก่อสร้างที่ได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติหาก
                                                    ื้
                                                   ู
               สามารถป้องกันและแจ้งเตือนประชาชนล่วงหน้าได้จะบรรเทาความเสียหายดังกล่าวได้  ทั้งยังสามารถน้างบประมาณ
                                                ื่
                       ื้
                 ื่
                                       ั
                          ู
               เพอการฟนฟดังกล่าวมาใช้พฒนาด้านอน ๆ ที่มีความจ้าเป็นอน ๆ ทั้งนี้การเกิดภัยธรรมชาติมีแนวโน้มความรุนแรง
                                                                  ื่
               เพิ่มมากยิ่งขึ้น  อันเกิดจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ถูกดัดแปลงและถูกท้าลายลงโดยเฉพาะการเกิดอทกภัยใน
                                                                                                       ุ
               พื้นที่ภาคใต้ฝั่งตะวันออก  ระหว่าง  เดือนตุลาคม – มกราคม  ของทุกปี  ซึ่งเป็นช่วงของฤดูมรสุมที่จะก่อให้เกิดความเสียหาย
               เนื่องจากอุทกภัยหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า  "น้้าท่วม"
                      ดังที่มีสถานการณ์น้้าท่วมลุ่มน้้าโก-ลก  ในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก  จังหวัดนราธิวาส  เมื่อช่วงวันที่ 24

               ก.พ.– 4 มี.ค. 2565 สาเหตุเกิดจากบริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นก้าลังค่อนข้างแรงจากประเทศจีนแผ่

                                                                                                      ั
               ลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ ส่งผลให้ลมตะวันออกและลมตะวันออกเฉียงเหนือที่พดปกคลุม
               อาวไทยและภาคใต้มีก้าลังแรง ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่้าที่ปกคลุมบริเวณเกาะบอร์เนียวมีก้าลังแรง
                ่
               เคลื่อนเข้าปกคลุมประเทศมาเลเซียและภาคใต้ตอนล่าง ท้าให้ภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี
                               ั
                                                                       ั
               นครศรีธรรมราช พทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ระนอง พงงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล มีฝนตกหนักถึง
               หนักมากบางแห่ง ในวันที่ 25 ก.พ.2565 ท้าให้เกิดฝนตกหนักในลุ่มน้้าโก-ลก จังหวัดนราธิวาส โดยเฉพาะที่สถานี
               อ้าเภอสุคิริน ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชั่วโมง ได้ 315.8 มม. สถานีอาเภอแว้ง ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชม. ได้ 287.6
                                                                      ้
               มม. สถานีอ้าเภอสุไหงโก-ลก ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชม. ได้ 275.8 มม.  สถานีอ้าเภอสุไหงปาดี ตรวจวัดปริมาณฝน

               24 ชม. ได้ 311.2 มม. และสถานีอาเภอตากใบ ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชม. ได้ 72.6 มม. โดยปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งลุ่มน้้า
                                            ้
                                                                                  ้
               โก-ลก  เท่ากับ 252.6 มม.ท้าให้ระดับน้้าในลุ่มน้้าโก-ลก ที่สถานี X.274 บ้านบูเก๊ะตา อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส (สถานีเฝ้า
                                                                                                   ั
               ระวังด้านเหนือน้้า) มีระดับน้้าสูงสุด  24.73 ม.(ร.ท.ก.) ปริมาณน้้า 410.00 ลบ.ม./วินาที ของวันที่ 26 กุมภาพนธ์ 2565 เวลา
               01.00 น. ระดับน้้าที่สถานี  X.119A บริเวณสะพานลันตู อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส (สถานีเตือนภัยด้านท้ายน้้า)
                                                              ้
               มีระดับน้้าสูงสุด 10.55 ม.(ร.ท.ก.)  ปริมาณน้้า  510.00  ลบ.ม./วินาที  ของวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 23.00 น.

                       ปริมาณน้้าดังกล่าวส่งผลให้เกิดน้้าไหลเข้าทางท่อระบายน้้าออกสู่ผิวจราจรบริเวณซอยท่าประปา ซอยโรงเลื่อย

               และท่วมขยายเป็นวงกว้างในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รวมทั้งระดับน้้าสูงเกินคันกันน้้าและระดับตลิ่งบริเวณ

               บ้านมูโน๊ะท้าให้พื้นที่ลุ่มต่้าและพื้นที่ชุมชนบ้านมูโน๊ะ อ้าเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เกิดน้้าท่วมสูง
   1   2   3   4   5   6   7   8