Page 3 - รายงานน้ำท่วมลุ่มน้ำปัตตานี วันที่ 21 ธ.ค. 5 ม.ค. 2567
P. 3

ค้าน้า




                                              ิ
                      ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันภัยพบัติทางธรรมชาติ เช่น  พายุ  น้้าท่วม  แผ่นดินถล่ม  ความแห้งแล้ง ฯลฯ ได้
               ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและประเทศชาติท้าให้ประชาชนและรัฐบาลต้องใช้

                                                   ู
                                                ื้
                                                    ื้
               งบประมาณจ้านวนมากในการบูรณะฟนฟพนที่และอาคารสิ่งก่อสร้างที่ได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติหาก
               สามารถป้องกันและแจ้งเตือนประชาชนล่วงหน้าได้จะบรรเทาความเสียหายดังกล่าวได้  ทั้งยังสามารถน้างบประมาณ
                          ู
                 ื่
                       ื้
               เพอการฟนฟดังกล่าวมาใช้พฒนาด้านอน ๆ ที่มีความจ้าเป็นอน ๆ ทั้งนี้การเกิดภัยธรรมชาติมีแนวโน้มความรุนแรง
                                                                  ื่
                                       ั
                                                ื่
                                                                                                       ุ
               เพิ่มมากยิ่งขึ้น  อันเกิดจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ถูกดัดแปลงและถูกท้าลายลงโดยเฉพาะการเกิดอทกภัยใน
               พนที่ภาคใต้ฝั่งตะวันออก  ระหว่าง  เดือนตุลาคม – มกราคม  ของทุกปี  ซึ่งเป็นช่วงของฤดูมรสุมที่จะก่อให้เกิด
                 ื้
               ความเสียหายเนื่องจากอุทกภัยหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า  "น้้าท่วม"
                                                                           ้
                                                                                                           ื้
                                                            ื้
                      ดังที่มีสถานการณ์น้้าท่วมลุ่มน้้าปัตตานี  ในพนที่ลุ่มต่้าของเขตอาเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา และในพนที่
                         ื้
               ลุ่มต่้าและพนที่ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี เมื่อช่วงวันที่ 21 ธ.ค.-5 ม.ค. 2567 สาเหตุเกิดลม
                                                  ่
                                         ั
               มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พดปกคลุมอาวไทยและภาคใต้มีก้าลังแรง ประกอบกับในช่วงวันที่ 23-25 ธ.ค. 2566
               หย่อมความกดอากาศต่้าก้าลังแรงบริเวณชายฝั่งประเทศมาเลเชียมีแนวโน้มเคลื่อนผ่านภาคใต้ตอนล่างและประเทศ
                                ั
               มาเลเชียลงสู่ทะเลอนดามันตอนล่าง ท้าให้ภาคใต้ตอนล่างมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางพนที่  ในบริเวณจังหวัด
                                                                                           ื้
               สุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช พทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ตรัง และสตูล มีฝนตกหนักถึงหนักมากบาง
                                           ั
                                                                                                    ้
               แห่ง ซึ่งในวันที่ 24 ธ.ค. 2566 ท้าให้เกิดฝนตกหนักในลุ่มน้้าปัตตานี โดยปริมาณฝนวัดได้ที่สถานีอาเภอธารโต
               ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชั่วโมง ได้ 154.4 มม. สถานีอ้าเภอบันนังสตา ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชั่วโมง ได้ 201.8 มม.

                                                                           ้
               สถานีอ้าเภอยะหา ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชั่วโมง ได้ 157.9 มม. สถานีอาเภอกาบัง ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชั่วโมง
                                                                                         ้
               ได้ 132.4 มม. สถานีอ้าเภอกรงปินัง ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชั่วโมง ได้ 168.0 มม. สถานีอาเภอเมืองยะลา ตรวจวัด
                                                     ้
               ปริมาณฝน 24 ชั่วโมง ได้ 244.6 มม. สถานีอาเภอยะรัง ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชั่วโมง ได้ 108.2 มม. และสถานี
               อ้าเภอเมืองปัตตานี ตรวจวัดปริมาณฝน 24 ชั่วโมง ได้ 65.0 มม. โดยปริมาณฝนเฉลี่ยในลุ่มน้้าปัตตานี เท่ากับ 154.0

               มม.(เกณฑ์ฝนที่ท้าให้เกิดน้้าท่วมประมาณ 125 – 150  มม.) ท้าให้ระดับน้้าในลุ่มน้้าปัตตานี ที่สถานี X.77 บ้านหัวสะพาน
               อ.บันนังสตา จ.ยะลา (สถานีเฝ้าระวังด้านเหนือน้้า) มีระดับน้้าสูงสุด  40.43 ม.(ร.ท.ก.) ปริมาณน้้า 910.50 ลบ.ม./วินาที

               ในวันที่ 25 ธันวาคม 2566 เวลา 14.00 น. ระดับน้้าที่สถานี X.40A บ้านท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา (สถานีเฝ้าระวังด้าน
               ท้ายน้้า)  มีระดับน้้าสูงสุด 18.16 ม.(ร.ท.ก.) ปริมาณน้้า 1253.00 ลบ.ม./วินาที ของวันที่ 26 ธันวาคม 2566 เวลา

               10.00 น.  ระดับน้้าที่สถานี  X.283 บ้านปรีกี อ.ยะรัง จ.ปัตตานี  (สถานีเฝ้าระวังด้านท้ายน้้า)  มีระดับน้้าสูงสุด
               10.71 ม.(ร.ท.ก.) ปริมาณน้้า 582.00 ลบ.ม./วินาที ของวันที่ 26 ธันวาคม 2566 เวลา 16.00 น. ที่สถานี X.275

               บ้านบริดอ อ.เมือง จ.ปัตตานี (สถานีเฝ้าระวังด้านท้ายน้้า)  มีระดับน้้าสูงสุด 3.25 ม.(ร.ท.ก.) ของวันที่ 28 ธันวาคม

               2566 เวลา 16.00 น.และที่สถานี X.10A สะพานเดชานุชิต อ.เมือง จ.ปัตตานี (สถานีเฝ้าระวังด้านท้ายน้้า)  มีระดับ
               น้้าสูงสุด 1.48 ม.(ร.ท.ก.) ของวันที่ 28 ธันวาคม 2566 เวลา 23.00 น.


                                                                               ้
                      ปริมาณน้้าดังกล่าวส่งผลให้เกิดน้้าท่วมพนที่ลุ่มต่้าของต้าบลท่าสาป อาเภอเมือง จังหวัดยะลา และพนที่ลุ่ม
                                                                                                         ื้
                                                       ื้
               ต่้าของต้าบลคลองใหม่ อ้าเภอยะรัง ต้าบลบาราเฮาะ ต้าบลปะกาฮารัง อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานีและบางส่วนของ
                                                                           ้
               ชุมชนเทศบาลเมืองปัตตานีเล็กน้อย
   1   2   3   4   5   6   7   8