Page 7 - รายงานน้ำท่วมลุ่มน้ำคลองท่าดี
P. 7

2



               ข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา
                      1).สภาพอากาศ
                       หย่อมความกดอากาศต่้าก้าลังแรงที่ปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนล่างเคลื่อนเข้าสู่แนวร่องมรสุมที่พาดผ่านภาคใต้
                                                                                 ่
               ตอนล่าง ประกอบกับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือก้าลังค่อนข้างแรงพดปกคลุมอาวไทยและภาคใต้ ลักษณะเช่นนี้ท้า
                                                                        ั
                                                                            ื้
               ให้ภาคใต้ตอนล่างมีฝนตกต่อเนื่อง และมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง พนที่ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากฝนตก
               หนัก ได้แก่ บริเวณจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส ภูเก็ต ตรัง และสตูล พนที่ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากฝนตก
                                                                            ื้
               หนักมาก ได้แก่ บริเวณจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ระนอง พังงา และกระบี่

               ดังแสดงในรูปที่ 2














                                                                     ิ
                         รูปที่ 2 วิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมของกรมอุตุนิยมวทยา (วันที่ 1-3 ธ.ค. 2564 ตามล้าดับ)
               แสดงแผนที่อากาศช่วงวันที่ 1-3 ธันวาคม 2564 ดังรูปที่ 3 และ แสดงเรดาร์การตรวจวัดฝน วันที่ 1-3 ธันวาคม 2564

               ดังรูปที่ 4  ซึ่ง ในวันที่ 1 ธันวาคม 2564 เรดาร์สามารถตรวจวัดความเข้มของฝนเป็นรายชั่วโมงปริมาณฝน

               เฉลี่ยทั่วทั้งพนที่ ประมาณ 196.7  มม./วัน  ในวันที่ 2 ธันวาคม 2564 เรดาร์สามารถตรวจวัดความเข้มของฝนเป็น
                          ื้
                                            ื้
               รายชั่วโมงปริมาณฝนเฉลี่ยทั่วทั้งพนที่ ประมาณ 80.0 มม./วัน และวันที่ 3 ธันวาคม 2564 เรดาร์สามารถตรวจวัด
               ความเข้มของฝนเป็นรายชั่วโมงปริมาณฝนเฉลี่ยทั่วทั้งพื้นที่ ประมาณ 6.8 มม./วัน
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12