Page 3 - รายงานน้ำท่วมลุ่มน้ำท่าแนะ.
P. 3

ค้าน้า


                                              ิ
                      ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันภัยพบัติทางธรรมชาติ เช่น  พายุ  น้้าท่วม  แผ่นดินถล่ม  ความแห้งแล้ง ฯลฯ ได้
               ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและประเทศชาติท้าให้ประชาชนและรัฐบาลต้องใช้
                                                ื้
                                                   ู
                                                    ื้
               งบประมาณจ้านวนมากในการบูรณะฟนฟพนที่และอาคารสิ่งก่อสร้างที่ได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติหาก
               สามารถป้องกันและแจ้งเตือนประชาชนล่วงหน้าได้จะบรรเทาความเสียหายดังกล่าวได้  ทั้งยังสามารถน้างบประมาณ
                          ู
                       ื้
                 ื่
                                                ื่
                                                                  ื่
                                       ั
               เพอการฟนฟดังกล่าวมาใช้พฒนาด้านอน ๆ ที่มีความจ้าเป็นอน ๆ ทั้งนี้การเกิดภัยธรรมชาติมีแนวโน้มความรุนแรง
               เพิ่มมากยิ่งขึ้น  อันเกิดจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ถูกดัดแปลงและถูกท้าลายลงโดยเฉพาะการเกิดอทกภัยใน
                                                                                                       ุ
               พนที่ภาคใต้ฝั่งตะวันออก  ระหว่าง  เดือนตุลาคม –  มกราคม  ของทุกปี  ซึ่งเป็นช่วงของฤดูมรสุมที่จะก่อให้เกิด
                 ื้
               ความเสียหาย  เนื่องจากอุทกภัยหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า  "น้้าท่วม"
                      ดังที่มีสถานการณ์น้้าท่วมลุ่มน้้าคลองท่าแนะ  ในเขตอาเภอควนขนุน จังหวัดพทลุง พทลุง เมื่อช่วงวันที่
                                                                                               ั
                                                                                         ั
                                                                    ้
               28 พ.ย.-6 ธ.ค. 2566 นี้ สาเหตุเกิดจากหย่อมความกดอากาศต่้าก้าลังแรงที่ปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนล่างและประเทศ
               มาเลเซียจะเคลื่อนลงสู่ทะเลอนดามัน ประกอบกับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพดปกคลุมอาวไทยตอนล่างข้างแรง
                                        ั
                                                                                           ่
                                                                                  ั
               และภาคใต้ตอนล่างมีก้าลังค่อนข้างแรง ส่งผลท้าให้ภาคใต้มีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่งบริเวณ พนที่ที่คาดว่าจะ
                                                                                                  ื้
                                                                                              ั
               ได้รับผลกระทบจากฝนตกหนัก ได้แก่ บริเวณจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พทลุง ปัตตานี ยะลา
                                                                                                  ื้
               นราธิวาส  ระนอง พงงา และกระบี่ ตรัง และสตูล ซึ่งในวันที่ 29 พ.ย. 2566 ฝนตกหนักในบริเวณพนที่ลุ่มน้้าคลอง
                                ั
                                                                         ั
               ท่าแนะโดยเฉพาะสถานี บ้านเขาปู่(X.276) ต.เขาปู่ อ.ศรีบรรพต จ.พทลุง ตรวจวัดฝน 24 ชม. วัดได้ 77.0 มม. ที่
                                                                                 ้
               สถานี ปตร.ท่าแนะ จ.พัทลุง ตรวจวัดฝน 24 ชม. วัดได้ 81.0 มม. และที่สถานี อาเภอควานขนุน จ.พทลุง ตรวจวัดฝน
                                                                                                 ั
               24 ชม. วัดได้ 10.0 มม. โดยปริมาณฝนเฉลี่ยในลุ่มน้้าคลองท่าแนะ เท่ากับ 56.0 มม. (เกณฑ์ฝนที่ท้าให้เกิดน้้าท่วม ประมาณ
               100 - 125 มม.)  ท้าให้ระดับน้้าในคลองท่าแนะที่สถานี X.276 คลองท่าแนะ(บน) บ้านเขาปู่ ต.เขาปู่ อ.ศรีบรรพต จ.

                 ั
               พทลุง (สถานีเฝ้าระวังด้านเหนือน้้า)  มีระดับน้้าสูงสุด 53.20 ม.(ร.ท.ก.) ปริมาณน้้า 49.00 ลบ.ม./วินาที เมื่อเวลา
               21.00 น.ของวันที่ 29 พ.ย.  2566 ระดับน้้าที่สถานี X.277 คลองท่าแนะ (ล่าง) บ้านพกุลทอง  ต.ชะมวง อ.ควนขนุน จ.
                                                                                     ิ
               พัทลุง (สถานีเตือนภัยด้านท้ายน้้า)  มีระดับน้้าสูงสุด 21.22 ม.(ร.ท.ก.) เมื่อเวลา 04.00 น. ของวันที่ 30 พ.ย. 2566

                                                       ื้
                                                                                                             ้
                      ปริมาณน้้าดังกล่าวส่งผลให้เกิดน้้าท่วมพนที่ลุ่มต่้าและทางสัญจรบางส่วน ของต้าบลชะมวง ต้าบลหนองพอ
               อ้าเภอควนขนุน
   1   2   3   4   5   6   7   8